ติดต่อลงโฆษณา [email protected]

ผู้เขียน หัวข้อ: ปลูกผักหลังบ้าน  (อ่าน 722 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #30 เมื่อ: 11/04/24, 10:45:47 »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #31 เมื่อ: 11/04/24, 14:40:55 »

เลี้ยงไส้เดือนดิน งานวัยเกษียณทำอยู่บ้าน สร้างเงินได้

หลายท่านจะคุ้นเคยกับข้อดีของไส้เดือนในเรื่องการพรวนดินเพียงอย่างเดียว แต่ข้อดีของไส้เดือนดินยังไม่หมดแค่นี้
ยังมีมูลที่ใช้แทนปุ๋ยคอกได้เป็นอย่างดี

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช

ประโยชน์ของมูลไส้เดือน

มูลไส้เดือนเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้นพืชต้องการ เมื่อผสมมูลไส้เดือนในปริมาณเล็กน้อยกับวัสดุที่จะใช้ปลูก ได้แก่ ดินผสมหรือดินในอัตราส่วน 1:4 (มูลไส้เดือน:วัสดุที่จะใช้ปลูก) ก็จะได้มูลไส้เดือนที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งใช้ได้ทันทีและเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเมื่อใช้จะสร้างโอเอซิสหรือรักษาความชื้นที่เหมาะสำหรับการทำงานของแบคทีเรีย งานนี้รับผิดชอบสำหรับการย่อยสลายสารชีวภาพ แปรรูปเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช

แบคทีเรียในระบบย่อยอาหารของไส้เดือนจะผลิตตัวควบคุมการเติบโตของพืชและฮอร์โมนเพิ่มเติมที่รับผิดชอบสำหรับการเร่งเซลล์พืชให้ขยายและแบ่งตัว ซึ่งมีถึง 10,000 เท่าในมูลไส้เดือนมากกว่าในดินผสมทั่วไป
มูลไส้เดือนจะมีความสมบูรณ์ที่ลงตัวระหว่างสารชีวภาพและช่องว่างอากาศ ซึ่งเป็นความสมดุลที่เหมาะที่จะให้รากพืชเปราะบางชอนไชลงไปได้อย่างง่ายดายเพื่อหาสารอาหารและน้ำ ยิ่งรากมีมากเท่าไหร่ พืชก็จะสามารถรวบรวมอาหารและน้ำได้มากขึ้นเท่านั้นและทำให้พืชมีสุขภาพดีขึ้น
พืชที่ปลูกในกระถางนานๆ ปุ๋ยมูลไส้เดือนจะไม่ทำให้ดินแข็ง จึงสามารถยืดระยะเวลาการปลูกออกไปได้โดย ไม่ต้องเปลี่ยนกระถาง
ปลอดสารเคมี 100% ไม่เป็นพิษต่อคนสัตว์เลี้ยงและสภาพแวดล้อม
กรณีใช้ผสมดิน ที่เป็นดินเหนียว จะช่วยเพิ่มอากาศในดิน ทำให้ดินร่วนซุย และช่วยในการถ่ายเทน้ำและอากาศได้สะดวก
กรณีผสมดินที่เป็นดินทรายจะช่วยเพิ่มเนื้อดิน ช่วยให้ดินเก็บรักษาความชื้น และธาตุอาหารในดิน ลดการชะล้างธาตุอาหารของน้ำ
มูลไส้เดือนดินสามารถช่วยเก็บความชื้นและปลดปล่อยออกมาให้พืชอย่าง ช้าๆ เมื่อพืชต้องการยืดระยะเวลาการให้น้ำแก่พืชได้นานขึ้น
ช่วยลดปัญหาการสลายตัวของธาตุอาหารเป็นตัวปลดปล่อยธาตุอาหารอย่างช้าๆ ทำให้ประหยัดปุ๋ย ปกป้องดินไม่ให้มีสภาพโครงร้างแน่นเข็งและช่วยเติมอินทรียวัตถุในเนื้อดิน ช่วยให้ดินร่วนซุย รากพืชสามารถแพร่ขยายได้กว้าง
มูลไส้เดือนดินจะมีสารประกอบของกรดฮิวมิคซึ่งเป็นตัวกักเก็บธาตุ อาหารที่จำเป็นต่อพืชหลายชนิด เช่น ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) เหล็ก (Fe) และทองแดง (Cu) ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้จะถูกเก็บอยู่ในโมเลกุลของกรดฮิวมิค อยู่ในรูปพร้อมใช้ และจะถูกปลดปล่อยออกมาเมื่อพืชต้องการ
มูลไส้เดือนไม่มีของแถม ที่ไม่พึงประสงค์ เช่นด้วง เชื้อราร้ายที่เขาไปทำลายพืช ไม่มีผลิตหญ้า ที่จะกลายมาเป็นมาเป็นวัชพืชในภายหลัง
มูลไส้เดือนมีโมเลกุลที่เล็กกว่า ปุ๋ยคอกทั่วไป ต้นไม้จึงดูดซับได้ง่ายและเร็วกว่า
มูลไส้เดือนเป็นปุ๋ยเย็นกว่าใช้กับต้นไม้ได้เลย ไม่ทำอันตรายกับต้นไม้ ต่างกับปุ๋ยคอกอื่น ที่ต้องผ่านการหมักก่อนถึงจะนำมาใช้ได้
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #32 เมื่อ: 17/04/24, 13:47:20 »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #33 เมื่อ: 18/04/24, 10:33:18 »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #34 เมื่อ: 19/04/24, 14:37:18 »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #35 เมื่อ: 23/04/24, 14:09:21 »
ดูแลรักษาท่อน้ำ อย่างไรให้สะอาด ปลอดภัย ใช้งานได้ยาวนาน



ท่อน้ำเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของเรา ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำสะอาดมาให้เราใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างร่างกาย ประกอบอาหาร หรือใช้ในการอุปโภคบริโภคอื่นๆ ดังนั้นการดูแลรักษาท่อน้ำให้สะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนานจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีดูแลรักษาท่อน้ำ

ทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอ
การทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอจะช่วยกำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน และตะกรันต่างๆ ที่อาจสะสมอยู่ในท่อน้ำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์

การทำความสะอาดท่อน้ำสามารถทำได้ด้วยตนเองหรือจ้างช่างประปามาดำเนินการ โดยหากทำความสะอาดด้วยตนเองสามารถทำได้ดังนี้

ปิดวาล์วน้ำที่ปลายท่อ
ถอดอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากท่อ
ใช้น้ำยาล้างท่อหรือน้ำยาอื่นๆ ที่เหมาะสมฉีดล้างภายในท่อ
ใช้แปรงขัดทำความสะอาดบริเวณที่สกปรก
ล้างน้ำสะอาดอีกครั้ง
ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ กลับเข้าที่
ตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ
ควรตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ หากพบรอยรั่วหรือรอยแตกร้าวให้รีบซ่อมแซมโดยเร็ว เพราะหากปล่อยให้รั่วนานอาจทำให้ท่อน้ำแตกเสียหายและอาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา

เลือกใช้ท่อน้ำคุณภาพดี
การเลือกท่อน้ำคุณภาพดีจะช่วยให้ท่อน้ำมีอายุการใช้งานยาวนานและลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

ข้อควรระวังในการทำความสะอาดท่อน้ำ

ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตา และหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสกับสารเคมีหรือสิ่งสกปรกต่างๆ
ไม่ควรใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงในการทำความสะอาดท่อน้ำ เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
หากพบปัญหาท่อน้ำตันหรือท่อน้ำรั่ว ควรปรึกษาช่างประปาที่มีความชำนาญ
ประโยชน์ของการดูแลรักษาท่อน้ำ

ช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน
ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์
ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ
การดูแลรักษาท่อน้ำเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะจะช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #36 เมื่อ: 25/04/24, 10:22:56 »
ดูแลรักษาท่อน้ำ อย่างไรให้สะอาด ปลอดภัย ใช้งานได้ยาวนาน



ท่อน้ำเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของเรา ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำสะอาดมาให้เราใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างร่างกาย ประกอบอาหาร หรือใช้ในการอุปโภคบริโภคอื่นๆ ดังนั้นการดูแลรักษาท่อน้ำให้สะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนานจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีดูแลรักษาท่อน้ำ

ทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอ
การทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอจะช่วยกำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน และตะกรันต่างๆ ที่อาจสะสมอยู่ในท่อน้ำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์

การทำความสะอาดท่อน้ำสามารถทำได้ด้วยตนเองหรือจ้างช่างประปามาดำเนินการ โดยหากทำความสะอาดด้วยตนเองสามารถทำได้ดังนี้

ปิดวาล์วน้ำที่ปลายท่อ
ถอดอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากท่อ
ใช้น้ำยาล้างท่อหรือน้ำยาอื่นๆ ที่เหมาะสมฉีดล้างภายในท่อ
ใช้แปรงขัดทำความสะอาดบริเวณที่สกปรก
ล้างน้ำสะอาดอีกครั้ง
ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ กลับเข้าที่
ตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ
ควรตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ หากพบรอยรั่วหรือรอยแตกร้าวให้รีบซ่อมแซมโดยเร็ว เพราะหากปล่อยให้รั่วนานอาจทำให้ท่อน้ำแตกเสียหายและอาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา

เลือกใช้ท่อน้ำคุณภาพดี
การเลือกท่อน้ำคุณภาพดีจะช่วยให้ท่อน้ำมีอายุการใช้งานยาวนานและลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

ข้อควรระวังในการทำความสะอาดท่อน้ำ

ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตา และหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสกับสารเคมีหรือสิ่งสกปรกต่างๆ
ไม่ควรใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงในการทำความสะอาดท่อน้ำ เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
หากพบปัญหาท่อน้ำตันหรือท่อน้ำรั่ว ควรปรึกษาช่างประปาที่มีความชำนาญ
ประโยชน์ของการดูแลรักษาท่อน้ำ

ช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน
ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์
ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ
การดูแลรักษาท่อน้ำเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะจะช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม

ออฟไลน์ sgethai

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 307
    • ดูรายละเอียด
Re: ปลูกผักหลังบ้าน
« ตอบ #37 เมื่อ: 26/04/24, 17:05:45 »
**พันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

การเลี้ยงปลาเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมของคนทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และยังสามารถเป็นแหล่งอาหารที่ดีอีกด้วย การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ว่าต้องการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **ขนาดของสระเลี้ยง** หากเลี้ยงในสระขนาดใหญ่ ก็สามารถเลี้ยงปลาที่มีขนาดใหญ่ได้ หากเลี้ยงในสระขนาดเล็ก ควรเลี้ยงปลาที่มีขนาดเล็ก
* **อุณหภูมิของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์จะทนต่ออุณหภูมิของน้ำที่แตกต่างกัน
* **ปริมาณออกซิเจนในน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการปริมาณออกซิเจนในน้ำที่แตกต่างกัน
* **ความเค็มของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการความเค็มของน้ำที่แตกต่างกัน
* **พฤติกรรมของปลา** ปลาแต่ละสายพันธุ์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน เช่น ปลาบางชนิดชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาบางชนิดชอบอยู่ตามลำพัง

**พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง**

พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีมากมาย ดังนี้

* **ปลาสวยงาม** เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาหมอสี ปลากัด เป็นต้น
* **ปลาเศรษฐกิจ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น
* **ปลาอื่น ๆ** เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล เป็นต้น

**ตัวอย่างพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

* **ปลาทอง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหางนกยูง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาสอด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหมอสี** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดใหญ่
* **ปลากัด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในภาชนะขนาดเล็ก

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงปลา**

* ควรหมั่นทำความสะอาดสระเลี้ยงปลาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรกที่อาจทำให้เกิดโรคในปลา
* ควรให้อาหารปลาในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป
* ควรสังเกตพฤติกรรมของปลา หากพบปลาที่มีอาการผิดปกติ ควรรีบแยกเลี้ยงและรักษา

การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น มีความสำคัญต่อความสำเร็จในการเลี้ยงปลา หากเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง จะช่วยให้ปลาเจริญเติบโตได้ดีและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม