ติดต่อลงโฆษณา [email protected]

ผู้เขียน หัวข้อ: หากเราดำเนินชีวิตโดยไม่มีศาสนา หรือ ไม่มีหลักความเชื่อใดๆ ประกอบด้วยเลย เราจะจัด  (อ่าน 40 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ Cloudsupachai111

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 124,405
    • ดูรายละเอียด
มูลเหตุทีทำให้เกิดศาสนา มนุษย์ในสมัยดึกดำบรรพ์ได้ประสบกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ ซึ่งเป็นทั้งความน่ากลัว แปลกประหลาด และมหัศจรรย์สำหรับตัวมนุษย์ เช่น ความมืด ความสว่าง ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ไฟป่า อุทกภัย และวาตภัย ฯลฯ แม้กระทั่งความสงสัยเกี่ยวกับตัวเราเอง “เราเป็นใคร เกิดมาทำไม และเมื่อตายแล้วจะไปที่ไหน? ” มนุษย์นั้นไม่สามารถหาคำอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ เหล่านี้ได้ และด้วยความที่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์เหล่านั้น มนุษย์จึงเกรงกลัวปรากฏธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จึงคิดว่าน่าจะมีอะไรบางอย่างที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ เหล่านั้น นั่นก็คือถือผีสางเทพเจ้า และเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านั้น มนุษย์จะต้องจงรักภักดี ด้วยการทำพิธีบูชาต่างๆ ดังนั้น มนุษย์จึงแสวงหาสิ่งที่จะมาคุ้มครองป้องกันตนจากภัยอันตรายที่คิดว่าจะได้รับจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ รวมทั้งแสวงหาสิ่งซึ่งเชื่อว่าสามารถคุ้มครองให้อยู่อย่างเป็นสุข ด้วยเหตุนี้ จึงเกิดวัฒนธรรม ตลอดจนประเพณียอมรับนับถือพลังลึกลับทางธรรมชาติว่าเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือมนุษย์ และได้สร้างขนบธรรมเนียมที่คิดว่าเป็นสิ่งจำเป็น และควรประพฤติต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์เทพเจ้าที่ยอมรับนับถือ จากความเชื่อของกลุ่มคน และขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ถือผีสางเทพเจ้าเหล่านี้ จึงค่อย ๆ วิวัฒนาการเรื่อยมา จนกระทั่งกลายเป็นลัทธิ และศาสนาต่าง ๆ นั่น เอง ศรัทธา หรือ ความเชื่อ นับเป็นจุดเริ่มต้นทางศาสนาทั้งปวง ซึ่งศรัทธาในทางศาสนานั้นมีอยู่ ๒ ประเภท ได้แก่ ความเชื่อที่ประกอบด้วย ปัญญา รู้เหตุ รู้ผล และ ความเชื่ออันเกิดจากความไม่รู้เหตุรู้ผล

การใช้ชีวิตโดยไม่มีศาสนาเป็นเช่นไร?
หากเราดำเนินชีวิตโดยไม่มีศาสนา หรือ ไม่มีหลักความเชื่อใดๆ ประกอบด้วยเลย เราจะจัดการกับความไม่รู้ได้อย่างไร
ความไม่รู้คือความไม่เข้าใจในเหตุและผล ความไม่รู้ความเป็นจริงของสิ่งต่างๆ โดยถูกต้องแจ่มแจ้ง เช่น กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม คือ กฎที่แสดงให้เห็นถึงเหตุและผลของการกระทำใดๆ ของมนุษย์ กล่าวคือ ใครกระทำกรรมอันใดไว้ ดีหรือชั่วก็ตาม บุคคลผู้กระทำนั้นจักต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้นๆ เสมอ มิได้เกิดจากการดลบันดาลจากอำนาจของพระเจ้าองค์ใด และไม่มีใครมารับผลของกรรมแทนบุคคลอื่นได้
หากเราไม่รู้ไม่เข้าใจเรื่องกฎแห่งกรรม หากเราไม่เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม กฎแห่งกรรมจะไม่สามารถให้ผลกับเราได้อย่างนั้นจริงเหรอ?
กฎแห่งกรรม กฎแห่งการกระทำ เป็นกฎแห่งเหตุและผล เป็นกฎของธรรมชาติ ซึ่งมันเป็นอยู่ มีอยู่ ดำเนินไปอยู่ อย่างนั้นๆ ตลอดเวลาที่เรากระทำสิ่งใดๆ ทั้งทางด้านกาย วาจา ใจ
ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ผลของกรรมบางอย่างปรากฏในปัจจุบันทันตาเห็น บางอย่างเห็นผลตอนตายไปแล้ว ไม่มีข้อยกเว้นให้กับใครๆ ไม่จำกัดเชื้อชาติ ภาษา ศาสนาใดก็ตามในโลก
เราอาจจะเคยฟังเรื่องเล่าต่างๆ มามากมายเกี่ยวกับเรื่องกรรม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของคนอื่นหรือเราอาจจะเห็นมันกับตัวเราเองก็เป็นได้ หากเรารู้จักสังเกต เราไม่อาจจะปฏิเสธสิ่งเหล่านั้นว่าไม่มีอยู่จริง
บางครั้งเราอาจจะสงสัยและเคยได้ยินได้ฟังคำนี้มา “ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป” นั่นเป็นเพราะผลแห่งกรรมยังไม่ได้ให้ผลทันทีหรือในภพชาตินั้นๆ

คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน? มีคนชอบพูดคำนี้ เหมือนทำง่ายๆ แต่คนเหล่านี้เคยรู้ไหม? “คำง่ายๆ แต่ความหมายสุดลึกล้ำ”
#คิดดี
สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) หมายถึง ความรู้ในอริยสัจ ๔
สัมมาสังกัปปะ (ความคิดที่ถูกต้อง) หมายถึง เมื่อมี “สัมมาทิฏฐิ” แล้ว จึงมีความคิดในการออกจากกาม ความไม่พยาบาท และการไม่เบียดเบียน
#พูดดี
สัมมาวาจา (วาจาที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากการพูดเท็จ หยาบคาย ส่อเสียด และเพ้อเจ้อ
#ทำดี
สัมมากัมมันตะ (การปฏิบัติที่ถูกต้อง) หมายถึง เจตนาละเว้นจากการฆ่า การเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้ และการประพฤติผิดในกาม
สัมมาอาชีวะ (การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากมิจฉาชีพ
สัมมาวายามะ (ความเพียรที่ถูกต้อง) หมายถึง สัมมัปปธาน ๔ หมายถึง ความพยายามป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด ละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ทำกุศลที่ยังไม่เกิด และดำรงรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
สัมมาสติ (การมีสติที่ถูกต้อง) หมายถึง สติปัฏฐาน ๔ กาย เวทนา จิต และธรรม
สัมมาสมาธิ (การมีสมาธิที่ถูกต้อง) หมายถึง ฌาน ๔อารัมมณูปนิชฌานลักขณูปนิชฌาน
ความทุกข์ ความดับทุกข์พุทโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานวิมุตติจิต จิตตื่นรู้ พ้นจากอวิชชาสมมุติทั้งปวงคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทาน  พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล การให้ การเสียสละ อันเป็นเหตุแห่ง ความสุขทั้งหลาย เป็นบ่อเกิดแห่งสมบัติทั้งหลาย เป็นที่ตั้งแห่งโภคะ ทั้งหลาย เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม  ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉนจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูปความทุกข์ ความดับทุกข์พุทโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานวิมุตติจิต จิตตื่นรู้ พ้นจากอวิชชาสมมุติทั้งปวง
 ทําไมเราต้องมีศาสนา โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม จึงทรงแสดงอริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา อริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา  การให้ การเสียสละ อันเป็นเหตุแห่ง ความสุขทั้งหลาย เป็นบ่อเกิดแห่งสมบัติทั้งหลาย เป็นที่ตั้งแห่งโภคะ ทั้งหลาย ทานย่อมให้สวรรค์สมบัติ พรหมสมบัติ จักรพรรดิสมบัติ สาวกบารมีญาณ ปัจเจกโพธิญาณ อภิสัมโพธิญาณ ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม จึงทรงแสดงอริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา 
คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม  ทรงแสดงอริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม จึงทรงแสดง[url=https://www.nirvanattain.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/%E0%B8%AD%E0%B8